การเลี้ยงจิ้งหรีด
จิ้งหรีด เป็นแมลงที่มีลักษณะปากเป็นแบบปากกัด มีตารวมหนวดยาวขาคู่หลังมีขนาดใหญ่
และแข็งแรง เพศเมียปีกเรียวและมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมาจากส่วนท้อง เพศผู้มีปีกคู่หน้าย่นสามารถทำเสียงได้ จิ้งหรีดจัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่พบได้ในทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะเขตร้อนอย่างประเทศไทย จิ้งหรีดมักกัดกินต้นกล้าของพืช ใบพืช ส่วนที่อ่อนๆ เป็นอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิด หลายขนาดแตกต่างกันไปตามพฤติกรรมลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกต่างจากแมลงชนิดอื่นอย่างโดดเด่นและสังเกตได้ง่ายคือ การส่งเสียงร้องและการผสมพันธุ์ที่เพศเมียจะคร่อมบนเพศผู้เสมอและแข็งแรง เพศเมียปีกเรียวและมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมาจากส่วนท้อง เพศผู้มีปีกคู่หน้าย่นสามารถทำเสียงได้ จิ้งหรีดจัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่พบได้ในทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะเขตร้อนอย่างประเทศไทย จิ้งหรีดมักกัดกินต้นกล้าของพืช ใบพืช ส่วนที่อ่อนๆ เป็นอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิด หลายขนาดแตกต่างกันไปตามพฤติกรรมลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกต่างจากแมลงชนิดอื่นอย่างโดดเด่นและสังเกตได้ง่ายคือ การส่งเสียงร้องและการผสมพันธุ์ที่เพศเมียจะคร่อมบนเพศผู้เสมอ
ปัจจุบันคนนิยมบริโภคจิ้งหรีดเป็นอาหาร เพราะมีโปรตีนสูง ปลอดสารพิษ ในธรรมชาติจะหาจิ้งหรีดมาเพื่อบริโภคได้ไม่มากนัก บางฤดูมีมาก บางฤดูแทบจะหาไม่ได้เลย เช่นฤดูหนาว จิ้งหรีดจะขนายพันธุ์ช้า หากมีการจัดการที่ดี จะมีจิ้งหรีดไว้บริโภคหรือจำหน่ายได้ตลอด
และแข็งแรง เพศเมียปีกเรียวและมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมาจากส่วนท้อง เพศผู้มีปีกคู่หน้าย่นสามารถทำเสียงได้ จิ้งหรีดจัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่พบได้ในทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะเขตร้อนอย่างประเทศไทย จิ้งหรีดมักกัดกินต้นกล้าของพืช ใบพืช ส่วนที่อ่อนๆ เป็นอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิด หลายขนาดแตกต่างกันไปตามพฤติกรรมลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกต่างจากแมลงชนิดอื่นอย่างโดดเด่นและสังเกตได้ง่ายคือ การส่งเสียงร้องและการผสมพันธุ์ที่เพศเมียจะคร่อมบนเพศผู้เสมอและแข็งแรง เพศเมียปีกเรียวและมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลมคล้ายเข็มยื่นออกมาจากส่วนท้อง เพศผู้มีปีกคู่หน้าย่นสามารถทำเสียงได้ จิ้งหรีดจัดเป็นแมลงชนิดหนึ่งที่พบได้ในทุกภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะเขตร้อนอย่างประเทศไทย จิ้งหรีดมักกัดกินต้นกล้าของพืช ใบพืช ส่วนที่อ่อนๆ เป็นอาหาร จิ้งหรีดมีหลายชนิด หลายขนาดแตกต่างกันไปตามพฤติกรรมลักษณะพิเศษของจิ้งหรีดที่แตกต่างจากแมลงชนิดอื่นอย่างโดดเด่นและสังเกตได้ง่ายคือ การส่งเสียงร้องและการผสมพันธุ์ที่เพศเมียจะคร่อมบนเพศผู้เสมอ
ปัจจุบันคนนิยมบริโภคจิ้งหรีดเป็นอาหาร เพราะมีโปรตีนสูง ปลอดสารพิษ ในธรรมชาติจะหาจิ้งหรีดมาเพื่อบริโภคได้ไม่มากนัก บางฤดูมีมาก บางฤดูแทบจะหาไม่ได้เลย เช่นฤดูหนาว จิ้งหรีดจะขนายพันธุ์ช้า หากมีการจัดการที่ดี จะมีจิ้งหรีดไว้บริโภคหรือจำหน่ายได้ตลอด
ชนิดของจิ้งหรีด จิ้งหรีดที่พบในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มี 5 ชนิด1. จิ้งหรีดดำ ลำตัวกว้างประมาณ 0.70 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. ตามธรรมชาติมี 3 สี คือ สีดำ สีทอง สีอำพัน โดยลักษณะที่เด่นชัดคือ จะมีจุสีเหลืองที่โคนปีก 2 จุด
หมวกแก๊ป มีความว่องไวมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกจิ้งหรีดนี้เป็นภาษาถิ่นว่า จินาย อิเจ๊ก จิ้งหรีดม้า เป็นต้น
จิ้งหรีดพันธุ์ทองแดง
ลำตัวกล้าประมาณ 0.53 ซม. ยาวประมาณ 2.05 ซม. ตัวเต็มวัยเหมือนพันธุ์ทอดงแดงลายแต่เล็กกว่า ประมาณครึ่งหนึ่ง ลักษณะนิสัย กินอาหารเก่ง โตไว ไม่ชอบบินเดินนุ่มนวลน่ารักวงจรชีวิตไข่สีขาวนวล ลักษณะเรียวยาวคล้ายเม็ดข้าวสาร ไข่เมื่อฟักนาน ๆ จะมีสีเหลือ และดำ ก่อนจะฟักออกเป็นตัวอ่อน ใช้เวลาประมาณ 13 -14 วัน ถ้าเป็นฤดูหนาวประมาณ 20 วัน ตัวอ่อน ฟักออกจากไข่ใหม่ ๆ มีสีครีมต่อมาเปลี่ยนเป็นสีดำและมีลายม่วง มีการลอกคราบ7 ครั้ง ระยะตัวอ่อนประมาณ 40 วัน ตัวเต็มวัย อายุ 40 วันขึ้นไป มีสีน้ำตาลเข้ม ตัวเล็กกว่าพันธุ์ทองแดง
เป็นการสื่อสารที่มีความหมายของจิ้งหรีดเพศเมีย ปีกคู่หน้าเรียบ และมีอวัยวะวางไข่ยาวแหลม คล้ายเข็มยาวประมาณ 1.50 ซม. การทำเสียงของเพศผู้เกิดจากการใช้ปีกคู่หน้าถูหรือสีกัด ปกติปีกจะทับกันเหนือลำตัวเพศผู้ปีกขวาจะทับปีกซ้าย ส่วนเพศเมียปีกซ้ายจะทับปีกขวา เวลาร้องจะยกปีกคู่หน้าขึ้นใช้ขอบของโคนปีกซ้ายหรือสีกับฟันซี่เล็ก ๆ ที่เรียงกันเป็นแถวที่โคนด้านในของปีกขวาพร้อม ๆ กับการโยกตัว เสียงร้องจะบ่งบอกถึงพฤติกรรมของจิ้งหรีดในขณะนั้น เช่นลักษณะ
แสดงพฤติกรรม1. กริก…กริก…กริก…นานๆ อยู่โดนเดี่ยว ต้องการหาคู่ หรือหลงบ้านบางครั้งพเนจรร้องไปเรื่อย ๆ
2. กริก…กริก…กริก..เบา
ๆ และถี่ ติดต่อกัน ต้องการผสมพันธุ์ ตัวผู้จะท้ายหลังเข้าหาตัวเมีย เพื่อขึ้นคร่อมรับการผสมพันธุ์
3. กริก…กริก…กริก..ยาวดัง
ๆ 2 – 3 ครั้ง โกรธ หรือแย่งความเป็นเจ้าของ
4. กริก…กริก..กริก..ลากเสียงยาว ๆ
ประกาศอาณาเขต หาที่อยู่ได้แล้วการผสมพันธุ์เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 3-4
วัน ก็จะเริ่มผสมพันธุ์ ตัวผู้จะส่งเสียงเรียกหาตัวเมีย
ตอนแรกจะส่งเสียงเรียกหาตัวเมีย ตอนแรกจะส่งเสียงดังและร้องเป็นช่วงยาว ๆ
เพื่อให้ตัวเมียเข้ามาอยู่ใกล้ ๆ จิ้งหรีดจะอาศัยเสียงร้องเท่านั้น
จึงจะเห็นเพศตรงข้าม เนื่องจากสายตาไม่ดี หนวดรับการสัมผัสไม่ค่อยดี จะสังเกตได้ เมื่อตัวเมียเกาะอยู่นิ่ง
ๆ ตัวผู้จะเดินผ่านไปทั้ง ๆ ตัวเมียอยู่ใกล้
เมื่อพบตัวเมียแล้วเสียงร้องจะเบาลงเป็นจังหวะสั้น ๆ กริก..กริก..กริก..
ถอยหลังเข้าหาตัวเมีย เพื่อให้ตัวเมียขึ้นคร่อมรับการผสมพันธุ์ ใช้เวลาประมาณ
10 – 15 นาที โดยตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศเมีย แล้วปล่อยถุงน้ำเชื้อมีลักษณะ
ปลายเป็นลูกศรออกไปติดที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้น ถุงนำเชื้อจะฝ่อลง ตัวเมียจะใช้ขาเขี่ย
ถุงน้ำเชื้อทิ้งไป
10 – 15 นาที โดยตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศเมีย
แล้วปล่อยถุงน้ำเชื้อมีลักษณะปลายเป็นลูกศรออกไปติดที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้น ถุงนำเชื้อจะฝ่อลง
ตัวเมียจะใช้ขาเขี่ยถุงน้ำเชื้อทิ้งไป
10 – 15 นาที โดยตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศเมีย
แล้วปล่อยถุงน้ำเชื้อมีลักษณะปลายเป็นลูกศรออกไปติดที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้น ถุงนำเชื้อจะฝ่อลง
ตัวเมียจะใช้ขาเขี่ยถุงน้ำเชื้อทิ้งไปการวางไข่หลังจากผสมพันธุ์แล้ว 3- 4 วัน
ตัวเมียจะเริ่มวางไข่โดยใช้อวัยวะที่ยาวแหลมคล้ายเข็ม
ความยาวประมาณ 1.50 ซม. แทงลงไปในดินลึก 1-1.50 ซม. และวางไข่เป็นกลม ๆ ละ
3 – 4 ฟอง ตัวเมีย 1 ตัว จะวางไข่ได้ประมาณ 1,000 – 1,200 ฟอง ปริมาณไข่สูงสุดช่วง
วันที่ 15 -16 นับจากการผสมพันธุ์ จากนั้นไข่จะลดลงเรื่อย ๆ จนหมดอายุขัย ความยาวประมาณ 1.50 ซม. แทงลงไปในดินลึก 1-1.50
ซม. และวางไข่เป็นกลม ๆ ละ
3 – 4 ฟอง ตัวเมีย 1 ตัว จะวางไข่ได้ประมาณ 1,000
– 1,200 ฟอง ปริมาณไข่สูงสุดช่วงวันที่ 15 -16 นับจากการผสมพันธุ์
จากนั้นไข่จะลดลงเรื่อย ๆ จนหมดอายุขัยความยาวประมาณ 1.50 ซม. แทงลงไปในดินลึก 1-1.50
ซม. และวางไข่เป็นกลม ๆ ละ
3 – 4 ฟอง ตัวเมีย 1 ตัว จะวางไข่ได้ประมาณ 1,000
– 1,200 ฟอง ปริมาณไข่สูงสุดช่วงวันที่ 15 -16 นับจากการผสมพันธุ์
จากนั้นไข่จะลดลงเรื่อย ๆ จนหมดอายุขัย
10 – 15 นาที โดยตัวผู้จะยื่นอวัยวะเพศแทงไปที่อวัยวะเพศเมีย แล้วปล่อยถุงน้ำเชื้อมีลักษณะ
ปลายเป็นลูกศรออกไปติดที่อวัยวะเพศเมีย หลังจากนั้น ถุงนำเชื้อจะฝ่อลง ตัวเมียจะใช้ขาเขี่ย
ถุงน้ำเชื้อทิ้งไป
ความยาวประมาณ 1.50 ซม. แทงลงไปในดินลึก 1-1.50 ซม. และวางไข่เป็นกลม ๆ ละ
3 – 4 ฟอง ตัวเมีย 1 ตัว จะวางไข่ได้ประมาณ 1,000 – 1,200 ฟอง ปริมาณไข่สูงสุดช่วง
วันที่ 15 -16 นับจากการผสมพันธุ์ จากนั้นไข่จะลดลงเรื่อย ๆ จนหมดอายุขัย
วัสดุ อุปกรณ์การเลี้ยงจิ้งหรีด1. บ่อจิ้งหรีด วัสดุที่จะนำมาเป็นสถานที่เพาะเลี้ยง เช่น บ่อซีเมนต์ กะละมัง ปิ๊บ โอ่ง ถังน้ำ เป็นต้น 2. เทปกาวใช้ติดรอบในด้านบนเพื่อป้องกันไม่ให้จิ้งหรีดออกนอกบ่อ ใช้พลาสติกกว้างประมาณ 5 ซม. ให้ยาวเท่าเส้นขอบวง
3. ยางรัดปากวง ใช้ยางในรถจักรยานยนต์ ตัดให้มีขนาดกว้างน้อยกว่าขอบวงด้านนอกเพื่อความสะดวกเมื่อเวลายืดรัดตาข่ายกับขอบวง
4. ตาข่ายไนล่อนสีเขียว เป็นตาข่ายสำหรับปิดปากบ่อจิ้งหรีดป้องกันการบินหนีของจิ้งหรีดและป้องกันศัตรูเข้าทำลายจิ้งหรีดตัดให้มีขนาดใหญ่กว่าบ่อจิ้งหรีดเล็กน้อย
5.วัสดุรองพื้นบ่อ ใช้แกลบใหม่ๆ รองพื้นหนาประมาณ 1 ฝ่ามือ 6.ที่หลบภัย ใช้เป็นที่หลบซ่อนตัว อาศัยอยู่ เช่น ถาดไข่ชนิดที่เป็นกระดาษ ไม้ไผ่ตัดเป็นท่อนๆ เข่งปลาทู 7. ถาดให้อาหาร ควรเป็นถาดที่ไม่ลึกมาก เพื่อให้จิ้งหรีดได้กินอาหารได้สะดวก 8. ภาชนะให้น้ำ ใช้ที่ให้น้ำสำหรับลูกไก่และต้องมีหินวางไว้สำหรับให้จิ้งหรีดเกาะได้ไม่ตกน้ำ 9. ถาดไข่ สำหรับใช้เป็นที่วางไข่โดยใช้ขันอาบน้ำทั่ว ๆ ไป วัสดุที่ใส่ ใช้ขี้เถ้าแกลบดำ รดน้ำให้ชุ่ม
โรคและศัพตรูของจิ้งหรีดจิ้งหรีดเป็นแมลงที่ไม่ค่อยมีโรคและศัตรูรบกวนมากนัก ควรป้องกันไว้ก่อนดีกว่าการกำจัด ซึ่งจะเป็ฯอันตราต่อจิ้งหรีดและผู้บรืโภคโรคทางเดินอาหาร เกิดจากจิ้งหรีดได้รับอาหารที่ไม่สะอาด เกิดเชื้อรา วิธีป้องกัน คือ การให้อาหารที่มีจำนวนพอเหมาะกับจำนวนจิ้งหรีดเมื่อเก็บผลผลิตหมดแล้วควรทำ ความสะอาดบ่อก่อนนำจิ้งหรีดรุ่นใหม่มาเลี้ยงสัตว์ศัตรู เช่น มด จิ้งจก ไร แมงมุน ป้องกันโดยโช้ตาข่ายคลุมให้มิดชิด
ติดตามได้ที่
โทร 0879448061 (ดารา)
โดย สิริภัทร เพ็งวงษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น